คณะวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
FACULTY OF MANAGEMENT SCIENCES CHIANGMAI RAJABHAT UNIVERSITY
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชุติมันต์ สะสอง
ตำแหน่ง : อาจารย์
สังกัด : ภาควิชาบริหารธุรกิจ
โทร : 053-885800
E-mail : chutimun_sas@g.cmru.ac.th
|
สถานที่ติดต่อ
ภาควิชาบริหารธุรกิจ
การศึกษา
2559 : การจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ลำปาง ไทย
2554 : บริหารธุรกิจ (การจัดการ) มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่ ไทย
2550 : การบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ เชียงใหม่ ไทย
2554 : บริหารธุรกิจ (การจัดการ) มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่ ไทย
2550 : การบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ เชียงใหม่ ไทย
งานวิจัย
หัวหน้าโครงการ
2565 : การพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรตะไคร้ภูเขาบนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.).
2564 : การจัดการองค์ความรู้เกี่ยวกับเครื่องแต่งกายในวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงจังหวัดแม่ฮ่องสอน. โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี(อพ.สธ.).
2563 : การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ละว้าด้วยนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์เพื่อสร้างเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในจังหวัดแม่ฮ่องสอน. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.).
2563 : การสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ตะไคร้ภูเขาด้วยนวัตกรรมนาโนเทคโนโลยีและกลยุทธ์ทางการตลาด. หน่วยขับเคลื่อนนวัตกรรมเพื่อสังคม ประจำพื้นที่ภาคเหนือตอนบน ๑ สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (NIA).
2562 : กระบวนการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีรากฐานมากจากทุนวัฒนธรรมผ่านการเชื่อมโยงการจัดการเชิงกลยุทธ์ และความสามารถทางการตลาดของกลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน. กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
2560 : กลยุทธ์การตลาดเชิงพันธมิตรเพื่อการพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืนของผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชนในเขตอำเภอ เมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน. สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (วช.).
2560 : ความต้องการศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจ วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
2559 : การมีส่วนร่วมของผู้ส่วนเกี่ยวข้องและบทบาทของผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ OTOP ในการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจชุมชนด้วยนวัตกรรมผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ในเขตจังหวัดแม่ฮ่องสอน. สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (วช.).
2555 : ความต้องการของประชาชนในจังหวัดแม่ฮ่องสอนที่มีต่อการเปิดสาขาวิชาเพื่อท้องถิ่น. วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
2555 : ความต้องการของประชาชนในจังหวัดแม่ฮ่องสอนที่มีต่อการเปิดสาขาวิชาเพื่อท้องถิ่น. วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
งานวิจัย
งานวิจัยร่วม
2563 : การแปรรูปถั่วเหลืองเพื่อสร้างมูลค่าเชิงพาณิชย์ในเขตจังหวัดภาคเหนือตอนบน. สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่ม จังหวัดภาคเหนือตอนบน 1.
2562 : รูปแบบการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนเพื่อสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในจังหวัดแม่ฮ่องสอน. สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (วช.).
2561 : การศึกษาศักยภาพและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนในจังหวัดแม่ฮ่องสอน. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.)
งานวิจัย
หัวหน้าชุดโครงการวิจัย
2564 : การพัฒนาศักยภาพ SME ขนาดเล็กของจังหวัดแม่ฮ่องสอนภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.).
งานพัฒนาผลงานวิชาการ
การประชุมทางวิชาการระดับชาติที่มี peer review
- : ชุติมันต์สะสอง และ สัญญา สะสอง. (2562). การศึกษาเส้นทางและโอกาสของผู้ประกอบการในการส่งออกสินค้าและบริการบริเวณจุดผ่อนปรนบ้านห้วยต้นนุ่น จังหวัดแม่ฮ่องสอน. การประชุมวิชาการระดับชาติ ?ราชภัฏกรุงเก่า? ประจำปี พ.ศ. 2562 ภายใต้หัวข้อ ?ท้องถิ่นก้าวไกลด้วยวิจัยและนวัตกรรม?. ระหว่างวันที่ 12 ? 13 ธันวาคม 2562 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุทธยา), หน้า 266-271.
- : สัญญา สะสอง ชุติมันต์ สะสอง และ ทรงเกียรติ สังฆมณี. (2562). การบูรณาการทุนทางสังคมเพื่อเชื่อมโยงการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มชาติพันธุ์ ไทใหญ่หมู่บ้านถ้ำลอด อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน. การประชุมวิชาการระดับชาติ ?ราชภัฏกรุงเก่า? ประจำปี พ.ศ. 2562 ประจำปี พ.ศ. 2562 ภายใต้หัวข้อ?ท้องถิ่นก้าวไกลด้วยวิจัยและนวัตกรรม?. ระหว่างวันที่ 12 ? 13 ธันวาคม 2562 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุทธยา), หน้า 431-437.
- : ชุติมันต์ สะสอง นิพนธ์ คำพา และ สัญญา สะสอง. (2562). การบูรณาการทุนทางสังคมเชื่อมโยงเส้นทางการค้าชายแดนเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ของกลุ่มชาติพันธุ์กะยาบ้านดอยแสง จังหวัดแม่ฮ่องสอน.การประชุมเชิงวิชาการระดับชาติด้านบริหารธุรกิจ ครั้งที่ 6 คณะบริหารธุรกิจ. วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2562 ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้.หน้า 994-995
- : ชุติมันต์ สะสอง และ สัญญา สะสอง. (2561). การจัดการชุมชนด้วยมิติการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ละว้าในจังหวัดแม่ฮ่องสอน. การประชุมวิชาการบริหารธุรกิจระดับชาติ ครั้งที่ 6 และนานาชาติ ครั้งที่ 2?วิจัยเพื่อความก้าวหน้าและนวัตกรรมธุรกิจ?. วันที่ 21 ธันวาคม 2561 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี หน้า 242 ? 253.
- : ชุติมันต์ สะสอง บุญฑวรรณ วิงวอน และ สัญญา สะสอง. (2561). การพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวสร้างสรรค์เชิงวัฒนธรรมผ่านการมีส่วนร่วมของกลุ่มชาติพันธุ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน. การประชุมวิชาการบริหารธุรกิจระดับชาติ ครั้งที่ 5 และนานาชาติ ครั้งที่ 1 ?วิจัยเพื่อความก้าวหน้าและนวัตกรรมธุรกิจ?. วันที่ 19 ธันวาคม 2560 ณมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี หน้า 11 ? 21.
- : ชุติมันต์ สะสอง วีรวิชญ์ ปิยนนท์ศิลปะ สุพจน์ คำมะนิด และ บุปผา คำนวณ. (2560). ความต้องการและปัจจัยการเข้าศึกษาต่อหลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจและการค้าชายแดน วิทยาลัยแม่ฮ่องสอนมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและระดับนานาชาติ ครั้งที่ 5. วันศุกร์ที่ 6 ตุลาคม 2560 ณ วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย หน้า 411.
- : ชุติมันต์ สะสอง. (2558). การเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ที่ส่งผลต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน.การประชุมวิชาการระดับชาติ ณ หาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ระหว่างวันที่ 7 ? 8 เมษายน 2558, Proceedings มสธ. วิจัย ประจำปี 2558 หน้า 391 - 402.
- : ชุติมันต์ สะสอง และ บุญฑวรรณ วิงวอน. (2558). แนวทางการเข้าสู่มาตรฐานผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของเครือข่ายผู้ประกอบการ OTOP จังหวัดแม่ฮ่องสอน. การประชุมวิชาการระดับชาติ ณมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ระหว่างวันที่ 3 ? 6 กุมภาพันธ์ 2558, บทคัดย่อประชุมวิชาการ ครั้งที่ 53 ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ISBN: 978-616-278-212-1 หน้า 66.
- : ชุติมันต์ สะสอง และ บุญฑวรรณ วิงวอน. (2557). ภูมิปัญญาสร้างสรรค์พลิกผันกลุ่มวิสาหกิจชุมชนสู่ความยั่งยืน : กรณีผู้ประกอบการกลุ่มชาติพันธุ์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน.การประชุมระดับชาติ ณ มหาวิทยาลัยนเรศวรระหว่างวันที่ 22 - 23 กรกฎาคม 2557, Proceedings ?นเรศวรวิจัย? ครั้งที่ 10: เครือข่ายวิจัย สร้างความรู้สู่อาเซียน หน้า 587-597.
- : ชุติมันต์ สะสอง และ บุญฑวรรณ วิงวอน. (2556). บทบาทของการจัดการเชิงกลยุทธ์และแผนธุรกิจที่มีผลกระทบต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน. การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร. ระหว่างวันที่ 24 - 26 มีนาคม 2557, เอกสารประกอบการประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยและสร้างสรรค์ระดับชาติและนานาชาติ?ศิลปากรวิจัยและสร้างสรรค์ครั้งที่ 7 : บูรณาการศาสตร์และศิลป์? หน้า O-027 ? O-136.
- : ชุติมันต์ สะสอง. (2555). ประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ของเทศบาลตำบลป่าไหน่ อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่. การประชุมวิชาการทางบริหารธุรกิจระดับชาติ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่23-24 สิงหาคม 2555 ณ โรงแรมฟูราม่า เชียงใหม่.
งานพัฒนาผลงานวิชาการ
การประชุมทางวิชาการระดับนานาชาติที่มี peer review
- : Sasong, C. , & Sangkhamanee, S. (2018). The Community Management to Develop Local Entrepreneurs for Creating Cultural-Tourism Village: A Case Study of Naplajad Village, Huaypha District, Muang District, Mae Hong Son Province. In ?2nd National and International ResearchConference 2018 (NIRC II 2018)? (pp. 506 ? 513), 15-16 February, 2018. Buri Ram: Buriram Rajabhat University.
- : Sasong, C. & Wingwon B. (2014). Relationship between Way of Life and Identity of EthnicGroups in Supporting Social Enterprise Entrepreneurs in Maehongson Province. 7th Asia-Pacific Business Research Conference, 25 ? 26 August, 2014, in Singapore.
- : Sasong, C. & Wingwon B. (2014). CREATING VALUE-ADD OF PRODUCT AND SERVICE TOWARD SUCCESS OF ETHNIC GROUP ENTREPRENEURS IN MAEHONGSON PROVINCE, THAILAND.International Journal of Arts & Sciences (IJAS) conference, 31 March ? 3 April, 2014, in France.
งานพัฒนาผลงานวิชาการ
ตำราหรือหนังสือทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่
2559 : ตำรา. ชุติมันต์ สะสอง. (2559). ความรู้เบื้องต้นในการประกอบธุรกิจ. เชียงใหม่ : ปภาวีการพิมพ์.ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เป็นภาษาต่างประเทศ
2020 : Kunasri, K. , Tarapituxwong, S. , Sasong, C. & Kumnuan, B. (2020). A Study of Potential and Development of Community Products in Mae Hong Son Province. Journal of Community Development Research(Humanities and Social Sciences), January-March 2020, 13(1); pp. 92-108.
งานพัฒนาผลงานวิชาการ
บทความวิจัยตีพิมพ์วารสารวิชาการในประเทศ
2563 : ชุติมันต์ สะสอง, สัญญา สะสอง และอารีย์ บินประทาน. (2563). การพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศผ่านการมีส่วนร่วม ของผู้มีส่วนได้เสียชุมชนบ้านป่าเหมี้ยง ตำบลแจ้ซ้อน อำเภอเมืองปาน จังหวัดลำปาง.วารสารวิชาการวิทยาลัยบริหารศาสตร์. 3(1); (มกราคม - มีนาคม 2563), น. 75-86. อยู่ในฐาน TCI กลุ่ม 2.
2563 : สัญญา สะสอง ชุติมันต์ สะสอง และบุศรา นิยมเวช. (2563). การจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมผ่านการมีส่วนร่วมของกลุ่มชาติพันธุ์ไทใหญ่ หมู่บ้านแพมบก อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน. วารสารวิชาการวิทยาลัยบริหารศาสตร์. 3(1); (มกราคม - มีนาคม 2563), น. 35-46. อยู่ในฐาน TCI กลุ่ม 2.
2562 : ชุติมันต์ สะสอง. (2562). การสำรวจและประเมินพฤติกรรมประชาชนในการค้าขายบริเวณเขตการค้าชายแดนพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี, 8(2); (กรกฎาคม - ธันวาคม)อยู่ในฐาน TCI กลุ่ม 1.
2562 : ชุติมันต์ สะสอง. (2562).กลยุทธ์การตลาดเชิงพันธมิตรเพื่อการพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืนของผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน. วารสารบัณฑิตบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น. 6(4);(ตุลาคม-ธันวาคม2562) อยู่ในฐาน TCI กลุ่ม 1.
2561 : วีรวิชญ์ ปิยนนทศิลป์ ชุติมันต์ สะสอง สุพจน์ คำมะนิด บุปผา คำนวน และ กิตติ เขียวทอง. (2561). กลยุทธ์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การเพื่อเพิ่มศักยภาพทางการแข่งขัน. วารสารบัณฑิตศาส์น มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 16(2); 260?272. (ธันวาคม). อยู่ในฐาน TCI กลุ่ม 2.
2560 : ชุติมันต์สะสอง. (2560). การมีส่วนร่วมของผู้ส่วนเกี่ยวข้องและบทบาทของผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ OTOP ในการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจชุมชนด้วยนวัตกรรมผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ในเขตจังหวัดแม่ฮ่องสอน.วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี.6(1); (มกราคม 2560 ? มิถุนายน 2560), ISSN: 2286-6590, อยู่ในฐาน TCI กลุ่ม 1.
2559 : ชุติมันต์ สะสอง และ บุญฑวรรณ วิงวอน. (2559). ความร่วมมือของผู้มีส่วนได้เสียและแผนธุรกิจที่มีบทบาทในการขับเคลื่อนกลุ่มวิสาหกิจหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ให้มีความได้เปรียบในการแข่งขันอย่างยั่งยืน. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม. 6(1); มกราคม ? เมษายน 2559, ISSN: 2228 - 9356 หน้า 124 ?133, อยู่ในฐาน TCI กลุ่ม 1.
2559 : บุญฑวรรณ วิงวอน และ ชุติมันต์ สะสอง. (2559). อิทธิพลของความเป็นผู้ประกอบองค์การ ทุนทางปัญญาและความร่วมมือของสมาชิกที่มีต่อผลการดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชนในภาคเหนือตอนบน 1 ของประเทศไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อิสเทอร์น. 10(4); (ตุลาคม 2559? ธันวาคม 2559), ISSN: 1905 -9590 หน้า 145 ? 160, อยู่ในฐาน TCI กลุ่ม 1.
2559 : ชุติมันต์ สะสอง. (2559). การบูรณาการทุนทางสังคมในการสนับสนุนภาวะผู้ประกอบการและการมีส่วนร่วมผ่านการเชื่อมโยงนวัตกรรมเพื่อสร้างการเติบโตของธุรกิจ OTOP กลุ่มชาติพันธุ์. วารสารสมาคมนักวิจัย.21(3); กันยายน ? ธันวาคม 2559, อยู่ในฐาน TCI กลุ่ม 1.
งานพัฒนาผลงานวิชาการ
บทความวิจัยตีพิมพ์วารสารวิชาการในต่างประเทศ
2021 : 2021 : Sasong, C. (2021). Development of Lawa ethnic community products with creative innovation to enhance sustainable tourism in Mae Hong Son province, Thailand. Journal of Management Information and Decision Sciences, 24(S6), 1- 13.
2021 : Sasong, S. & Sasong, C. (2021). Model of Sustainable Tourism Management to Strengthenthe Communities in Mae Hong Son Province, Thailand. PSYCHOLOGY AND EDUCATION,58(4), ISSN 1553 ? 6939, 4182 ? 4189.
2020 : Sasong, C. , Raksujarit, A. , Phanpanya, K. , & Sasong, S. (2020). Creating Value-added Products for Litsea Cubeba through Innovative Nanotechnology and Marketing Strategies. Solid State Technology, 63(2s), ISSN: 0038-111x, 10007 - 10020. (November).
2020 : Boonchai, T. , Sasong, C. , & Sasong, S. (2020). Soybean Processing to Create Commercial Value in the Upper Northern Provinces. SOLID STATE TECHNOLOGY, 63(2s), ISSN: 0038-111x,10085 - 10093. (November).
2020 : Sasong, C. (2020). Strategic Management and Marketing Capability in Value-added Process of Community Products Based on Cultural Capital of Ethnic Groups.Test Engineering and Management Journal, May ? June 2020 ISSN: 0139-4120, 12978 ? 12989.
การเผยแพร่ผลงานวิจัย
ผลงานที่ได้รับรางวัลระดับชาติ
2562 : รางวัลนำเสนอบทความวิจัยยอดเยี่ยม เรื่อง การศึกษาเส้นทางและโอกาสของผู้ประกอบการในการส่งออกสินค้าและบริการบริเวณจุดผ่อนปรนบ้านห้วยต้นนุ่น จังหวัดแม่ฮ่องสอน. การประชุมวิชาการระดับชาติ?ราชภัฏกรุงเก่า? ประจำปี พ.ศ. 2562 ประจำปี พ.ศ. 2562 ภายใต้หัวข้อ ?ท้องถิ่นก้าวไกลด้วยวิจัยและนวัตกรรม? ระหว่างวันที่ 12 ? 13 ธันวาคม 2562 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
2560 : รางวัลนำเสนอบทความวิจัยยอดเยี่ยม เรื่อง การพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวสร้างสรรค์เชิงวัฒนธรรมผ่านการมีส่วนร่วมของกลุ่มชาติพันธุ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน. การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ประจำปี 2560 วันที่ 19 ธันวาคม 2561 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี.
2560 : รางวัลบทความวิจัยยอดเยี่ยม 2560 เรื่อง การพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวสร้างสรรค์เชิงวัฒนธรรมผ่านการมีส่วนร่วมของกลุ่มชาติพันธุ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน. การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ประจำปี 2560 วันที่ 19 ธันวาคม 2561 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี.
งานบริการวิชาการ
เป็นวิทยากร
2561 : ผู้ทรงคุณวุฒิอบรมการใช้แอพลิเคชั่นป้องกันไฟป่าและหมอกควัน. สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน).
งานบริการวิชาการ
การบริการวิชาการอื่นๆ
2564 : ที่ปรึกษาผลงานนวัตกรรม โครงการโปรตีนถั่วลายเสือนิลมณีของเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนกลุ่มอาหารพื้นบ้านสารอาหารครบถ้วนสูตรไทยใหญ่และชนเผ่าอำเภอปาย. ทุนผลงานนวัตกรรมเพื่อสังคมภายใต้โครงการหน่วยขับเคลื่อนนวัตกรรมเพื่อสังคม (Social Innovation Driving Unit) ประจำพื้นที่ภาคเหนือตอนบน 1 (SIDN1).
2564 : ผู้ทรงคุณวุฒิคณะกรรมการขับเคลื่อนไทยไปด้วยกันจังหวัดแม่ฮ่องสอน. สำนักงานจังหวัดแม่ฮ่องสอน.
2563 : ที่ปรึกษาผลงานนวัตกรรม โครงการครีมตะไคร้ภูเขา สปานาโนของวิสาหกิจชุมชนศูนย์ผลิตผลิตภัณฑ์พืชสมุนไพรระดับชุมชนที่ 5. ทุนผลงานนวัตกรรมเพื่อสังคมภายใต้โครงการหน่วยขับเคลื่อนนวัตกรรมเพื่อสังคม(Social Innovation Driving Unit) ประจำพื้นที่ภาคเหนือตอนบน 1 (SID-N1).
2563 : ที่ปรึกษาผลงานนวัตกรรม โครงการเสื้อผ้าเเฟชั่นชนเผ่าของวิสาหกิจชุมชนหมู่บ้านนาปาแปก. ทุนผลงานนวัตกรรมเพื่อสังคมภายใต้โครงการหน่วยขับเคลื่อนนวัตกรรมเพื่อสังคม (Social Innovation Driving Unit)ประจำพื้นที่ภาคเหนือตอนบน 1 (SID-N1).
2563 : ผู้ทรงคุณวุฒิคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัดแม่ฮ่องสอน. สำนักงานเกษตรจังหวัดแม่ฮ่องสอน.
2563 : ผู้ทรงคุณวุฒิคณะกรรมการบทบาทสตรีจังหวัดแม่ฮ่องสอน. สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดแม่ฮ่องสอน.
: 2561 - 2564 : ผู้ทรงคุณวุฒิคณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ระดับจังหวัด. สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน.
: 2561 - 2562 : ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินวิสาหกิจชุมชนในแหล่งท่องเที่ยวจังหวัดแม่ฮ่องสอน. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย
ข้อมูลประวัติและผลงานวิชาการ
ประสบการณ์ด้านการทำงาน
: 2564 ? ปัจจุบัน : ตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สังกัดภาควิชาบริหารธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
: 2562 - 2564 : ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ วิทยาเขตแม่ฮ่องสอน.
: 2561 : ตำแหน่ง รองคณบดีวิทยาลัยแม่ฮ่องสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
: 2560 - 2564 : ตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สังกัดภาควิชาสังคมศาสตร์ วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
: 2554 : ตำแหน่ง อาจารย์สังกัดภาควิชาสังคมศาสตร์ วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
: 2542 ? 2554 : ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชีเทศบาลตำบลป่าไหน่ อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่
ข้อมูลประวัติและผลงานวิชาการ
หนังสือ ตำรา หรือบทความวิชาการ
2560 : ตำรา. ชุติมันต์ สะสอง. (2560). การจัดการเชิงกลยุทธ์. แม่ฮ่องสอน : เรือนภาพ.