คณะวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
FACULTY OF MANAGEMENT SCIENCES CHIANGMAI RAJABHAT UNIVERSITY
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มานพ ชุ่มอุ่น
ตำแหน่ง : อาจารย์
สังกัด : ภาควิชาการตลาด
โทร : 053-884819
E-mail : manop_chu@cmru.ac.th
|
สถานที่ติดต่อ
ภาควิชาการตลาด
การศึกษา
งานวิจัย
หัวหน้าโครงการ
2555 : โครงการการพัฒนาการตลาดและการท่องเที่ยวของธุรกิจชุมชนเพื่อยกระดับ กรณีศึกษา : ชุมชนเทศบาลเมืองแกนพัฒนา อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่. The Development of Community Marketing and Tourism to Enhance to Small Business Enterprise of Muangkaen Municipality, Maetaeng District, Chiang Mai Province. สำนักบริหารโครงการวิจันในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
2555 : การบูรณาการองค์ความรู้ด้านการตลาดเพื่อพัฒนาการทำตลาดวิสาหกิจชุมชนอย่างยั่งยืนของชุมชนบ้านสันทรายต้นกอก ตำบลฟ้าฮ่าม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (วช.).
2555 : การยกระดับสินค้าชุมชนสู่แม่ฮ่องสอนไซเบอร์มอลล์. Community Products Enhancing to Maehongson Cyber Mall. สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (วช.).
2554 : การจัดการสายผลิตภัณฑ์และช่องทางการจัดจำหน่ายเพื่อพัฒนาวิสาหกิจชุมชนแบบยั่งยืนในผลิตภัณฑ์ถั่วเน่าแค่บ ถั่วแปหลอ ถั่วแปยี และน้ำมันงาของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านปางหมู ต.ปางหมู อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน. The Product line and Channel Distribution Management to Develop Community Enterprises of Peanuts Products, Soilbean Products and Seasame oil at Pangmoo Villange, Amphur Muang, Maehongson Province. สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (วช.).
2554 : การพัฒนาการตลาดและการท่องเที่ยวของธุรกิจชุมชนเพื่อยกระดับสู่วิสาหกิจชุมชน กรณีศึกษา : ชุมชนเทศบาลเมืองแกนพัฒนา อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่. สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (วช.).
2553 : การจัดการทางการตลาดเพื่อพัฒนาศักยภาพทางการแข่งขันเพื่อการพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืนของกลุ่มผู้ผลิตไม้แกะสลัก ตำบลทาทุ่งหลวง อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน. เครือข่ายบริหารการวิจัยภาคเหนือตอนบน.
2553 : การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาธุรกิจชุมชนในผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายทอมือ กรณีศึกษา : กลุ่มผ้าฝ้ายทอมือบ้านดอนหลวง ตำบลแม่แรง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน. The Knowledge Management to Develop Community Business Enterprise in Cotton Products, Case Study : The Hand Made Cotton Weaving Groups at Donluang Village, Tambon Maerang, Amphur Pasang, Lamphun Province. สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (วช.).
2553 : โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการการพัฒนากระบวนการจัดการทางการตลาดในผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายทอมือ กรณีศึกษา : กลุ่มผ้าฝ้ายทอมือบ้านดอนหลวง ตำบลแม่แรง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน. The Development of marketing Management for Cotton Products, Case Study : The Cotton Hand Weaving Groups at Donluang Village Tambon Maerang, Amphur Pasang, Lamphun Province. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (วช.).
2553 : การพัฒนากระบวนการจัดการทางการตลาดในผลิตภัณฑ์จากผ้าฝ้ายทอมือ กรณีศึกษา : กลุ่มผ้าฝ้ายทอมือบ้านดอนหลวง ตำบลแม่แรง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน. สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (วช.).
2553 : การพัฒนากลยุทธ์และการจัดการตลาดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมท้องถิ่นของวิสาหกิจชุมชนในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลฟ้าฮ่าม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (วช.).
2552 : โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการการจัดการความรู้ทางการตลาดเพื่อพัฒนาวิสาหกิจชุมชนในการผลิตผลิตภัณฑ์จากถั่วลิสง ถั่วเหลือง และน้ำมันงาของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านปางหมูและสบสอย ต.ปางหมู อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน. The Knowledge Management of Marketing to Develop Community Enterprises of Peanuts Products, Soil bean Products and Sesame oil at Pangmoo and Subsoi Village, Amphur Muang, Maehongson Province. สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (วช.).
2551 : โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการการจัดการความรู้ทางการตลาดเพื่อพัฒนาวิสาหกิจชุมชนในการผลิตผลิตภัณฑ์ลำไยอบแห้งสีทองของสมาชิกกลุ่มเกษตรกรบ้านเหมืองกวัก หมู่ที่ 5 ตำบลมะเขือแจ้ อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน. สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (วช.).
งานวิจัย
งานวิจัยร่วม
2551 : การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ลำไยอบแห้งสีทองด้วยการจัดการความรู้ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านเหมืองกวัก หมู่ 5 ต.มะเขือแจ้ อ.เมือง จ.ลำพูน. สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (วช.).
งานวิจัย
งานวิจัย
2560 : การพัฒนาผลิตภัณฑ์และขยายโอกาสทางการตลาดสินค้ากาแฟอาราบิก้าของกลุ่มวิสาหกิจในจังหวัดแม่ฮ่องสอน
2560 : การสร้างและพัฒนาตราสินค้า บรรจุภัณฑ์ และส่วนประสมทางการตลาดในผลิตภัณฑ์กาแฟอาราบิก้า ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดแม่ฮ่องสอน
งานด้านการสนับสนุนวิชาการ
คณะกรรมการ
2548 : กรรมการศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ คณะวิทยาการจัดการ
งานประสานการจัดการศึกษาภาคปกติ
ผู้ประสานรายวิชา
2555 : อาจารย์ประสานรายวิชาประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555. คำสั่งคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ที่ 051/2555. หลักการตลาด และการตลาดบริการ.
2555 : อาจารย์ประสานรายวิชาประจำภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555. คำสั่งคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ที่ 083/2555.
2555 : อาจารย์ประสานรายวิชาประจำภาคเรียนที่ 3 ปีการศึกษา 2554. คำสั่งคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ที่ 021/2555.
งานประสานการจัดการศึกษาภาคปกติ
กรรมการบริหารหลักสูตร
2553 : อาจารย์ประจำหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2553) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
2548 : อาจารย์ประจำหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด พุทธศักราช 2548 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
งานพัฒนาผลงานวิชาการ
การประชุมทางวิชาการระดับชาติที่มี peer review
25.. : การพัฒนาธุรกิจชุมชนด้วยการใช้องค์ความรู้ด้านการตลาด.
งานพัฒนาผลงานวิชาการ
การประชุมทางวิชาการระดับนานาชาติที่มี peer review
25.. : การพัฒนากระบวนการจัดการทางการตลาดในผลิตภัณฑ์จากผ้าฝ้ายทอมือ กรณีศึกษา : กลุ่มผ้าฝ้ายทอมือบ้านดอนหลวง ตำบลแม่แรง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน.
งานพัฒนาผลงานวิชาการ
ตำราหรือหนังสือทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่
2552 : การจัดการตราสินค้า. เชียงใหม่ : สาขาวิชาการตลาด คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
2548 : การตลาดบริการ (พิมพ์ครั้งที่ 3). เชียงใหม่ : ครองช่างการพิมพ์.
2548 : การบริหารการตลาด (พิมพ์ครั้งที่ 7). เชียงใหม่ : ครองช่างการพิมพ์.
งานพัฒนาผลงานวิชาการ
งานแปลตำราหรือหนังสือทางวิชาการในสาขาวิชาชีพ
2547 : หนังสือแปล (ร่วม) Marketing, Principles and Perspectives. Chapter 6-10 แต่งโดย Bearden, O., Ingram, N. & LaForge, W. (2004). (The international ed.). New York : McGraw-Hill.
การเผยแพร่ผลงานวิจัย
การประชุมทางวิชาการระดับชาติที่มี Peer Review
2557 : การพัฒนาตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์สินค้าชุมชน 7 อำเภอ ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน
งานบริการวิชาการ
เป็นวิทยากร
2555 : วิทยากรบรรยายหัวข้อ ?การพัฒนานักออกแบบผลิตภัณฑ์ชุมชน? วันที่ 13 ? 14 มิถุนายน 2555 ณ โรงแรมเชียงใหม่ภูคำ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.
2555 : วิทยากรบรรยายหัวข้อ ?การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาผลิตภัณฑ์แก่กลุ่มอาชีพ/กลุ่ม OTOP? วันที่ 20 ? 21 มิถุนายน 2555 ณ ที่ว่าการอำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่.
งานบริการวิชาการ
การบริการวิชาการอื่นๆ
2552 : ป็นคณะกรรมการดำเนินงานสถานวิจัยคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ตามคำสั่งคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ที่ 021/2552.
งานบริการวิชาการ
การพัฒนาตนเอง
ข้อมูลประวัติและผลงานวิชาการ
ประสบการณ์ด้านการทำงาน
: 2559-2560 คณะทำงานศูนย์พัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยี (ธกส.) ระดับประเทศ
: 2559-2560 คณะกรรมการคัดสรรค์ดาวโอทอปของสำนักงานพัฒนาชุมชนเชียงใหม่
: 2559-2560 คณะทำงานพิจารณาตรวจสอบและคัดกรองการคัดสรรโอทอปไทยปี พ.ศ. 2559
: 2556-2560 รองคณบดีฝ่ายวิชาการและบริการวิชาการ และอาจารย์ประจำภาควิชาการตลาด คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 8
: 2556-2560 คณะกรรมการงานวิเทศสัมพันธ์ คณะวิทยาการจัดการ
: 2556-2560 ประธานคณะกรรมการร่างหลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการธุรกิจบริการ
: 2556-2560 คณะกรรมการพัฒนานักศึกษาปีการศึกษา 2559
: 2556-2560 คณะกรรมการทบทวนแผนพัฒนานักศึกษาปี 2558 และพัฒนาแผนนักศึกษาปี 2557-2559
: 2556-2560 คณะกรรมการดำเนินงานพัฒนาเครือข่ายผู้มีส่วนได้ส่วนเสียฯประจำปี 2559
: 2556-2560 คณะกรรมการกลั่นกรองเอกสารการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ
: 2556-2560 คณะกรรมการบริหารคณะวิทยาการจัดการ
: 2556-2560 คณะกรรมการประจำคณะวิทยาการจัดการ
: 2556-2560 คณะกรรมการดำเนินงานโครงการอนุรักษ์พันธ์พืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
: 2556-2560 คณะกรรมการพัฒนางานสหิจศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
: 2556-2560 คณะกรรมการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์สร้างเสริมสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
: 2556-2560 คณะกรรมการทวนสอบระบบและกลไกการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
: 2556-2560 คณะกรรมการดำเนินงานโครงการประเมินคุณธรรมฯ (ITA) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
: 2556-2560 คณะกรรมการดำเนินงานการจัดการศึกษา หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
: 2556-2560 คณะกรรมการดำเนินการจัดการความรู้ (KM) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
: 2556-2560 คณะกรรมการกลั่นกรองหลักสูตรระดับมหาวิทยาลัย
: 2556-2560 กรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ (2 สมัย)
: 2547-2548 ผู้ช่วยคณบดี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
: 2546-2548 คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ
: 2545-2552 คณะกรรมการวิชาการ ประจำคณะวิทยาการจัดการ
: 2542-2552 ประธานโปรแกรม (หัวหน้าสาขาวิชาการตลาด) คณะวิทยาการจัดการ (3 สมัย)
: 2540 อาจารย์ 2 ระดับ 4 สาขาการตลาด คณะวิทยาการจัดการ
ข้อมูลประวัติและผลงานวิชาการ
ภาระงานสอน (รายวิชาที่มีประสบการณ์ในการสอน)
: MK 1101 หลักการตลาด 3(3-0-6)
: MK 2108 การสื่อสารการตลาด 3(3-0-6)
: MK 2109 พฤติกรรมผู้บริโภค 3(3-0-6)
: MK 2201 การตลาดทางตรง 3(3-0-6)
: MK 2202 การประชาสัมพันธ์ทางการตลาด 3(3-0-6)
: MK 3208 การตลาดบริการ 3(3-0-6)
: MK 3303 การจัดการตราสินค้า 3(3-0-6)
: MK 3309 การจัดการการตลาดเชิงกลยุทธ์ 3(3-0-6)
: MK 4801 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางการตลาด 1(0-3-2)
ข้อมูลประวัติและผลงานวิชาการ
ผลงานวิจัย ที่ไม่เป็นส่วนของการศึกษาเพื่อรับปริญญา/ประกาศนียบัตร
2560 : การพัฒนาผลิตภัณฑ์และขยายโอกาสทางการตลาดสินค้ากาแฟอาราบิก้าของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดแม่ฮ่องสอน (หัวหน้าแผนงานวิจัย) แหล่งทุน: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
2560 : การสร้างและพัฒนาตราสินค้า บรรจุภัณฑ์ และส่วนประสมทางการตลาดในผลิตภัณฑ์กาแฟอาราบิก้าของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดแม่ฮ่องสอน (หัวหน้าโครงการ) แหล่งทุน: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
2560 : การสร้างแบรนด์และส่วนประสมทางการตลาดผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP)อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ (นักวิจัยร่วม) แหล่งทุน: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
2559 : กลยุทธ์ทางการตลาดที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มโอกาสทางการตลาดของวิสาหกิจชุมชนลำไยอบแห้งเนื้อสีทองในจังหวัดเชียงใหม่และลำพูน (วิจัยมุ่งเป้า) (นักวิจัยร่วม) แหล่งทุน: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
2559 : การบูรณการการตลาดดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการตลาดผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP)อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ (ที่ปรึกษาโครงการวิจัย) แหล่งทุน: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
2558 : การจัดการโซ่อุปทานพริกขี้หนูสวนอำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ (นักวิจัยร่วม) แหล่งทุน: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
2557 : การศึกษาตำแหน่งทางการตลาดและรูปแบบการท่องเที่ยวฮาลาลในจังหวัดเชียงใหม่(วิจัยมุ่งเป้า) (นักวิจัยร่วม) แหล่งทุน: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
2556 : การศึกษาสถานการณ์อาหารอินทรีย์และประเมินพฤติกรรมผู้บริโภคต่ออาหารอินทรีย์ในจังหวัด เชียงใหม่ แหล่งทุน: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
2556 : การการส่งเสริมการตลาดผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปศุสัตว์อินทรีย์ แหล่งทุน: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
2556 : การส่งเสริมการตลาดผลไม้สดอินทรีย์เพื่อการตัดแต่งพร้อมบริโภค แหล่งทุน: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
2555 : การบูรณาการองค์ความรู้ด้านการตลาดเพื่อพัฒนาการทำการตลาดวิสาหกิจชุมชนอย่างยั่งยืนของชุมชนบ้านสันทรายต้นกอก ตำบลฟ้าฮ่าม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ แหล่งทุน: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
2555 : การยกระดับสินค้าชุมชนสู่แม่ฮ่องสอนไซเบอร์มอลล์ ภายใต้ชุดวิจัย การพัฒนาบรรจุภัณฑ์และตราสินค้า 7 อำเภอ จังหวัดแม่ฮ่องสอน แหล่งทุน: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
2554 : การจัดการสายผลิตภัณฑ์และช่องทางการจัดจำหน่ายในผลิตภัณฑ์ถั่วเน่าแค่บ ถั่วแปหล่อถั่วแปยี และน้ำมันงาบ้านปางหมู ตำบลปางหมู อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน แหล่งทุน: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
2554 : การพัฒนาการตลาดและการท่องเที่ยวของธุรกิจชุมชนเพื่อการยกระดับสู่วิสาหกิจชุมชน กรณีศึกษา : ชุมชนเทศบาลเมืองแกนพัฒนา อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ แหล่งทุน: สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาแห่งชาติ (วช.)
2553 : การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาธุรกิจชุมชนในผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายทอมือ กรณีศึกษา:กลุ่มผ้าฝ้ายทอมือบ้านดอนหลวง ตำบลแม่แรง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
2553 : การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาธุรกิจชุมชนในผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายทอมือ กรณีศึกษา:กลุ่มผ้าฝ้ายทอมือบ้านดอนหลวง ต. แม่แรง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน แหล่งทุน: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
2553 : การพัฒนากระบวนการจัดการทางการตลาดในผลิตภัณฑ์จากผ้าฝ้ายทอมือ กรณีศึกษา:กลุ่มผ้าฝ้ายทอมือบ้านดอนหลวง ตำบลแม่แรง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน แหล่งทุน: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
2553 : การจัดการทางการตลาดเพื่อพัฒนาศักยภาพทางการแข่งขันเพื่อการพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืนของกลุ่มผู้ผลิตไม้แกะสลัก ตำบล ทาทุ่งหลวง อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน แหล่งทุน: เครือข่ายบริหารการวิจัยภาคเหนือตอนบน
2552 : การจัดการความรู้ทางการตลาดเพื่อพัฒนาวิสาหกิจชุมชนในการผลิตผลิตภัณฑ์จากถั่วลิสง ถั่วเหลือง และน้ำมันงาบ้านปางหมู ตำบลปางหมู อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน แหล่งทุน: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ข้อมูลประวัติและผลงานวิชาการ
หนังสือ ตำรา หรือบทความวิชาการ
: มานพ ชุ่มอุ่น. (2557). การตลาดบริการ. ภาควิชาการตลาด คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
: มานพ ชุ่มอุ่น. (2558). การบริหารการตลาด. ภาควิชาการตลาด คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
: มานพ ชุ่มอุ่น. (2559). หลักการตลาด. เชียงใหม่: ภาควิชาการตลาด คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
: มานพ ชุ่มอุ่น. (2560). การจัดการตราสินค้า. เชียงใหม่: ภาควิชาการตลาด คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
: หนังสือแปล (ร่วม). มานพ ชุ่มอุ่น. Marketing, Principles and Perspectives. Chapter 6-10 แต่งโดย Bearden, O., Ingram, N. & LaForge, W. (2004). (The international ed.). New York: McGraw-Hill.